วันจันทร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

DTS04 14/07/2552

(Set & String)

โครงสร้างข้อมูลแบบเสร็จ
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ข้อมูลแต่ละตัวไม่มีความสัมพันธ์กัน ในภาษาซีจะไม่มีประเภทข้อมูล เหมือนกับในภาษาปาสคาล แต่สามารถใช้หลักการแบบเซ็ตมาใช้ได้

ตัวดำเนินการของเซ็ต (Set operstors)
ประกอบด้วย
Set intersection
Set union
Set difference เป็นต้น

วิธีแก้ปัญหาเบื้องต้น
จะต้องกำหนดเซ็ดของผู้เรียนที่ลงทะเบียนในแต่ละวิชา นำเซ็ตที่ได้ดังกล่าวมา intersection กัน หากมีเซ็ดใดที่ทำการ intersection กันแล้วสมาชิกซ้ำกัน จะไม่สามารถจัดอยู่ในวันเวลาเดียวกันได้ โครงสร้างข้อมูลแบบสติง (สติง) หรือ สติงของอักขระ เป็นข้อมูลที่ประกอบไปด้สย ตัวอักษรตัวเลขและเครื่องหมายเรียงติดต่อกัน รวมถึงช่องว่าง สติง กับ อะเรย์ สติง คืออะเรย์ของอักขระ เช่น char a[6]

การกำหนดสติง
1. กำหนดค่าตรงตัว
2.กำหนดโดยใช้ตัวแปรอะเรย์หรือพอยเตอร์ เช่น "This is String " จะเป็นข้อมูลแบบสติงยาว 16 อักขระ การกำหนดตัวแปรสติง อาศัยหลักการของอะเรย์ เพราะสติงก็คือ อะเรย์ของอักขระที่ปิดท้ายด้วย null character(\0) ฟังชันget() เป็นฟังชันที่อ่านค่าจากแป้นพิมพ์มาเก็บไว้ในหน่วยความจำ ซึ่งก็คืออะเรย์ที่ตัวแปรเนมชี้อยู่ หากใช้ scanf() จะถือว่าเจมส์เป็นค่าหนึ่ง และ smite เป็นอีกค่าหนึ่ง อะเรย์ของสติงที่ยาวไม่เท่ากัน ทำได้เฉพาะเมื่อมีการกำหนดค่าเริ่มต้นเท่านั้น อะเรย์ของสติงที่ยาวเท่ากัน ในลักษณะนี้ถือว่าเป็นอะเรยืที่แท้จริงและสามารถกำหนดได้ทั้งเมื่อมีการให้ค่าเริ่มต้น เช่น char[3][7]={"Apple","Orange","Mango"}; กำหนดตัวแปร fruit เป็นแบบ 3 แถว 7 คอลัมน ฟังชัน puts() ใช้ในการพิมพ์สติงออกทางจอภาพ โดยการผ่านแอดเดรสของสติงไปให้เท่านั้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น